สามเณรนิโครธ ผู้จุดให้พระเจ้าอโศกมหาราชหันมานับถือและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา
ประมาณ ๓๐๐ ปีหลังพุทธปรินิพพาน มีสามเณรน้อยรูปหนึ่งนามว่า สามเณรนิโครธ อายุเพียง ๗ ขวบ ได้ออกบวชและบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์สามเณรน้อยมีผิวพรรณผ่องใสและเป็นผู้ที่ฝึกตนเป็นอย่างดีจึงมีบุคลิกที่สงบเสงี่ยมสง่างามน่าเลื่อมใสยิ่งนัก ทำให้พระราชาคือ พระเจ้าอโศกมหาราชเกิดความเลื่อมใสศรัทธาในทันทีที่เห็นสามเณรเดินผ่าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญ คือ จารึกศิลาฉบับที่สิบสามของพระเจ้าอโศกมหาราช
มกุฏพันธนเจดีย์
มกุฏพันธนเจดีย์ เป็นเจดีย์สร้างขึ้นในรัชสมัย พระเจ้าอโศกมหาราช ตรงบริเวณที่ถวายพระเพลิงพระพุทธ สรีระของพระพุทธเจ้าใน วันอัฏฐมีบูชา...
การกระจายตัวของเจดีย์พระบรมธาตุ
พระอรหันต์ทั้งปวงและพระเจ้าอโศกมหาราชได้ร่วมกันอธิษฐานว่า...เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังมีพระชนม์ชีพอยู่นั้น เคยเสด็จไปยังถิ่นฐานบ้านเมืองหลายแห่ง แล้วทรงหมายสถานที่อันควรแก่การประดิษฐานพระบรมธาตุไว้ จึงขออัญเชิญพระบรมธาตุไปสถิตในที่อันพระพุทธองค์ได้ทรงหมายเอาไว้นั้นเถิด...
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ญาติธรรมและธรรมทายาท
แม้พระเจ้าอโศกมหาราช ทรงสละพระราชทรัพย์ถึง ๙๖โกฏิ สร้างพระวิหาร ๘๔,๐๐๐หลัง ไว้ในพระพุทธศาสนา พระองค์ทรงเป็นได้เพียงแค่โยมอุปัฏฐากเท่านั้น ครั้นทรงถวายพระกุมารและพระราชธิดา ผู้เป็นประดุจแก้วตาดวงใจไว้ในพระพุทธศาสนา จึงได้ชื่อว่าเป็นทายาทในพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง
สามเณร คือ ใคร
สามเณร คือ นักบวชชายในพระพุทธศาสนาที่มีอายุน้อย ยังมิได้รับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ สามเณร แปลว่า เหล่ากอของสมณะ หน่อเนื้อของสมณะ ผู้ที่จะบวชเป็นสามเณร คือ ผู้สั่งสมบุญเก่ามาในอดีตไว้ดีแล้ว จึงได้มีโอกาสมาบวชฝึกฝนตนเอง
ธุดงค์ธรรมชัยกับพุทธประเพณีการล้างเท้าพระ
การล้างเท้าพระ เป็นพุทธประเพณีหนึ่งที่มีมาแต่ครั้งพุทธกาล ดังเรื่องของสังขพราหมณชาดก ที่กล่าว ถึงอดีตชาติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในครั้งที่เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ชื่อสังขะ ในชาตินั้น สังขพราหมณ์ เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้าเสด็จมาด้วยเท้าเปล่าเหยียบย่ำทรายที่ร้อนดังถ่านเพลิง จึงเกิดกุศลศรัทธา รีบนิมนต์ พระปัจเจกพุทธเจ้าเข้าไปที่โคนต้นไม้ แล้วล้างเท้าพระปัจเจกพุทธเจ้าด้วยน้ำที่อบและกรองใสสะอาด
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3 รายละเอียด และมูลเหตุของการสังคายนา
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
ต้นพระศรีมหาโพธิ์เดิมชื่อว่าต้นอะไร?
ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เดิมชื่อว่าต้น “อัสสัตถพฤกษ์” แต่ที่เรียกกันว่าต้นพระศรีมหาโพธิ์เพราะพระโพธิสัตว์ตรัสรู้ใต้ต้นไม้ชนิดนี้