ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 20
สิริวัฒกะเศรษฐีกล่าว พลางยื่นท่อนไม้ตะเคียนคืบหนึ่งส่งให้มโหสถดู “พระราชาทรงมีพระบรม ราชโองการมา ให้พวกเราพิจารณาท่อนไม้นี้ว่า ทางไหนเป็นโคน ทางไหนเป็นปลาย แม้นไม่รู้จะทรงปรับสินไหม 1000 กหาปณะ เราทุกคนในที่นี้ ต่างจนปัญญาไปตามๆกัน ยังไม่อาจจะชี้ได้เลย ว่าทางไหนเป็นโคน ทางไหนเป็นปลาย ลูกพอจะรู้ได้ไหมล่ะ”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 21
ไม้ท่อนนั้นแม้มองด้วยสายตาจะเห็นว่าเท่ากันทั้งสอง ด้าน แต่เมื่อได้วางลงไปในน้ำ แทนจะจมลงไปในน้ำเท่ากัน กลับกลายเป็นว่า ข้างหนึ่งกลับจมลงไปมากกว่าอีกข้างหนึ่ง เมื่อผลปรากฏเป็นเช่นนี้ มโหสถกุมารจึงชี้บอกมหาชนในที่นั้น ให้สังเกตดูลักษณะการจมลงของท่อนไม้ว่า
ชาวบ้านตะลึงขุดพบเรือโบราณอายุกว่า 200 ปี คาดเป็นเรือพระเจ้าตาก
พระเรวตขทิรวนิยเถระ เอตทัคคะมนทางผู้อยู่ป่า
สามเณรเรวตะเป็นน้องชายของพระสารีบุตรผู้เป็นพระอัครสาวกเบื้องขวาขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้หนีการแต่งงานไปออกบวชในป่าตอนอายุ ๗ ขวบ และอาศัยอยู่ในป่าไม้ตะเคียนเพื่อประพฤติปฏิบัติธรรม ได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ในป่าไม้ตะเคียนนั้น
กัณหทีปายนชาดก ชาดกว่าด้วยความรักที่มีต่อบุตร
“ เมื่อตอนแรกที่เราบวช เรายินดีประพฤติพรหมจรรย์ได้เพียง ๗ วันเท่านั้น จากนั้นแม้เราไม่ยินดีก็ทนประพฤติพรหมจรรย์ถึง ๕๐ กว่าปี ด้วยความสัตย์อันนี้ ขอให้ยัญญทัตตกุมารจงรอดชีวิตเถิด ” มัณพัพยะได้ถามถึงสาเหตุที่ทีปายนดาบสฝืนประพฤติพรหมจรรย์โดยไม่ยอมสึกมาครองเรือน “ ถ้าท่านไม่ยินดีประพฤติพรหมจรรย์ แล้วทำไมท่านไม่ออกมาครองเรือนหละ ” “ เพราะเราไม่อยากให้ใครว่าเราเป็นคนเหลวไหล กลับกรอกนะสิ
ฆตบัณฑิตชาดก ชาดกว่าด้วยความดับความโศก
ณ บ้านหลังหนึ่งในเชตวัน สาวัตถี กุฎุมพีเจ้าของบ้านได้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ เป็นอันมากเนื่องจากบุตรชายอันเป็นที่รักของเขาได้ตายจากไป ความเศร้าเสียใจของชายผู้นี้กินเวลาเนิ่นนาน วันเดือนปีจะผ่านพ้นไปเพียงใด เขาก็ยังไม่สามารถทำใจได้
ทรัพยากรธรรมชาติ และสัตว์ป่าในประเทศไทย
ทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยลักษณะภูมิประเทศที่หลากหลาย ตั้งแต่หาดทราย ชายฝั่งทะเล หมู่เกาะ ที่ราบลุ่ม จนถึงยอดเขาสูง จึงทำให้ประเทศเป็นประเทศที่มีทรัพยากรรมธรรมชาติอุดมสมบูรณ์และหลากหลาย
กรรมของคนผิดคำสาบาน
บุคคลผู้ทำบาปย่อมเศร้าโศกในโลกนี้ ย่อมเศร้าโศกในโลกหน้า ย่อมเศร้าโศกในโลกทั้งสอง บุคคลผู้ทำบาปนั้นย่อมเศร้าโศก ครั้นละโลกไปแล้ว เห็นกรรมที่เศร้าหมองของตนย่อมเดือดร้อน
กรรมของการรังแกสัตว์
สตรี บุรุษ คฤหัสถ์หรือบรรพชิต ควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เรามีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่ง ใครทำกรรมใดไว้ ดีหรือชั่วก็ตาม จักเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น
กันทคลกชาดก
ชาดกว่าด้วยเรื่องนกหัวขวานตายเพราะไม้แก่น