วันรวมพลังเด็กดี V-Star ผู้นำฟื้นฟูศีลธรรมโลก ครั้งที่ 10
วันรวมพลังเด็กดี V-Star ผู้นำฟื้นฟูศีลธรรมโลก ครั้งที่ 10 วันเสาร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2558 "เก่งอยางเดียว เท่ากับศูนย์ ต้องทับทวีคูณด้วยความดี"
ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ พระมหาธีรราชเจ้าของชาวสยาม
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นชาวไทยคนแรกที่ปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสยามมกุฎราชกุมาร ทรงผนวชที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสเป็นพระอุปัชฌาย์ เสด็จประทับจำพรรษาศึกษาพระธรรมวินัย ณ วัดบวรนิเวศวิหารเป็นเวลา ๑ พรรษา
ทำไมต้องหล่อรูปเหมือนเป็นทองคำแท้ในยุคเศรษฐกิจแบบนี้
ทำไมต้องหล่อรูปเหมือนเป็นทองคำแท้ ในเมื่อเศรษฐกิจไม่ดี? การหล่อพระด้วย “ทองคำ” เป็นเรื่องปกติหรือไม่? ทำไมนิยมนำทองคำหรือรัตนชาติแพง ๆ มาสร้างพระหรือเจดีย์ ถือเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้วหรือ? ทำไมต้องหล่อหลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ? ทำไมต้องหล่อหลวงปู่องค์ที่ ๘ ในเมื่อหล่อมาตั้ง ๗ องค์แล้ว?
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอน บ่อเกิดของมารยาทไทย
เรามักเข้าใจกันว่า มารยาทเป็นเรื่องของการปรับตัวให้เข้ากับสังคมเพื่อความงดงามน่าดู เพื่อการยอมรับเข้าเป็นหมู่คณะเท่านั้น แต่แท้จริงแล้วมีเรื่องเบื้องหลังลึกซึ้งเกี่ยวกับต้นบัญญัติมารยาทที่เรายอมรับกันอยู่ในปัจจุบันนี้...
สืบทอดพุทธธรรม...จากพุทธกาลสู่โลกปัจจุบัน
คัมภีร์พระไตรปิฎกอักษรบาลีถือเป็นข้อมูลชั้นปฐมภูมิที่สืบทอดคำสอนเป็นลายลักษณ์อักษรโดยมีมาตั้งแต่ราว ๆ พ.ศ. ๔๐๐ เศษ ณ ประเทศศรีลังกา และถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนในยุคต่อมา ที่สร้างคัมภีร์ใบลานด้วยความเคารพศรัทธา เพื่อเผยแผ่หรือทดแทนของเดิมที่สูญหายหรือถูกทำลาย
๔๙ พรรษา วันธรรมชัย วันแห่งชัยชนะโดยธรรม
เมื่อถึงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ของทุกปี เหล่าศิษยานุศิษย์กัลยาณมิตรทั้งหลายต่างรำลึกเสมอว่าเป็น “วันธรรมชัย” (วันแห่งชัยชนะโดยธรรม) คือ วันที่หลวงพ่อธัมมชโย เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายและประธานมูลนิธิธรรมกาย เข้าบรรพชาอุปสมบท ณ วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
บวช บวชพระ บวชเถิดชายไทย กตัญญู ลูกผู้ชาย มาบวชกัน
บวชเถิดชายไทย มาบวชกัน บวชที่ไหนดี สถานที่บวช บวชแล้วทำไมเรียกทิด บวชเป็นพระ พ่อแม่ได้บุญอย่างไร บวชนานแค้ไหนดี บวชแล้วได้อะไรบ้าง บวชเข้าพรรษาดีอย่างไร
พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ยุคทองแห่งต้นกรุงรัตนโกสินทร์
แผ่นดินที่ ๓ ของกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ไทยในราชวงศ์จักรีถือเป็นยุคทองแห่งต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ในรัชสมัยของพระองค์พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองเป็นอันมาก เนื่องด้วยทรงมีพระราชศรัทธาอย่างมั่นคงในพระพุทธศาสนาทรงรักษาศีล บำเพ็ญทาน บำรุงคณะสงฆ์ สร้างและปฏิสังขรณ์พระอารามไว้เป็นจำนวนมาก
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"
อภิชาตบุตรของพ่อแม่
เป็นธรรมดาของชายหนุ่มหญิงสาวเมื่อได้ครองรักปักฐานกลายเป็นสามีภรรยา กันแล้ว ย่อมปรารถนาที่จะมีบุตรน้อยไว้เป็นสมาชิกของครอบครัว