ประวัติสุนทรภู่ ความเป็นมาของวันสุนทรภู่ กวีเอกของโลก
สุนทรภู่ หรือ พระสุนทรโวหาร มีนามเดิมว่า ภู่ เกิดในวังหลัง ปากคลองบางกอกน้อย) เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2329 ท่านเป็นกวีเอกคนหนึ่งของกรุงรัตนโกสินทร์
วันฉัตรมงคล
วันฉัตรมงคล 2566 วันพฤหัสบดัที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2566 ประวัติวันฉัตรมงคล วันฉัตรมงคล สําคัญอย่างไร ความหมายวันฉัตรมงคล
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๐)
แนวการสอนและการปฏิบัติของพระเดชพระคุณหลวงปู่เป็นไปตามแบบของโบราณาจารย์ ซึ่งสงเคราะห์ลงได้ในหลักกายคตาสติกรรมฐานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงวางแบบไว้
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๖)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนได้นำเสนอผลงานวิจัยการค้นพบ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่ประเทศไทย ฉบับก่อนหน้านั้น ผู้เขียนมีความเชื่อมั่นว่า ท่านผู้อ่านที่ติดตามเรื่องราวมาตลอด และผู้ใคร่ต่อการศึกษา นักวิชาการเมื่อได้อ่านบทความและรับทราบถึงข้อมูลที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผลพร้อมหลักฐานที่นำเสนอแล้วนั้น
รักษ์ศาสน์ วาดศิลป์ แผ่นดินสยาม
บรรพชนชาวสยามน้อมรับเอาพระพุทธศาสนามานับถือและรักษาไว้ ไม่ว่าจะเปลี่ยนผ่าน มากี่ยุคสมัย ผ่านมากี่แผ่นดิน อาณาประชาราษฎร์ล้วนอยู่ร่วมกันอย่างร่มเย็นเป็นสุขภายใต้ พระบรมโพธิสมภารแห่งพระมหากษัตริย์ ผู้ทรงเป็น “ธรรมราชา” องค์เอกอัครศาสนูปถัมภก ปกครองแผ่นดินโดยธรรมตามหลักพระธรรมคำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร)
ประวัติ พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร เจริญพานิช ป.ธ. ๔) เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร
พระบรมธาตุในประเทศไทย ตอนที่ 1
พระบรมธาตุในประเทศไทย 1.วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 2.วัดโพธิ์ พระมหาธาตุทรงปรางค์ 3.วัดมหาธาตุ 4.วัดราชบพิตร ....
คัมภีร์ใบลานราษฎร์ ร่วมสืบศาสน์และชาติไทย
พระพุทธศาสนาเริ่มเข้ามาประดิษฐานในแผ่นดินสุวรรณภูมิเป็นครั้งแรก ราวปีพุทธศตวรรษที่ 3 เมื่อครั้งพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งราชวงศ์เมารยะ มหาราชผู้ยิ่งใหญ่แห่งอินเดีย โปรดเกล้าฯ ให้พระโสณเถระและพระอุตตรเถระเดินทางจากแคว้นมคธมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ ดินแดนแถบนี้ ซึ่งช่วงเวลานั้นประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรสุวรรณภูมิ ที่มีอาณาเขตกว้างขวาง และมีศูนย์กลางสำคัญอยู่ที่จังหวัดนครปฐ
คัมภีร์แห่งกษัตริย์...สมบัติแห่งแผ่นดิน
คัมภีร์ใบลานที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง รวมถึงคัมภีร์ที่พระบรมวงศานุวงศ์ตลอดจนขุนนางชั้นผู้ใหญ่สร้างขึ้น เรียกว่า คัมภีร์ใบลานฉบับหลวง หรือฉบับของหลวง ส่วนคัมภีร์ใบลานที่พระภิกษุสงฆ์หรือราษฎรสร้างขึ้น เรียกว่า คัมภีร์ใบลานฉบับราษฎร์ หรือ ฉบับเชลยศักดิ์
วัดโมลีโลกยาราม ราชวรวิหาร
ประวัติ วัดโมลีโลกยาราม ผู้สร้างและผู้ปฏิสังขรณ์ ประวัติ วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร รวบรวมเรียบเรียงโดย พระเมธีวราภรณ์ (สุทัศน์ ป.ธ.๙)